web counter
แนะนำเจาะลึกวิธีการประเมิน Ca...
ReadyPlanet.com


แนะนำเจาะลึกวิธีการประเมิน Carbon Emission ในแต่ละ Scopes สำหรับเจ้าของธุรกิจ


 แนะนำเจาะลึกวิธีการประเมิน Carbon Emission ในแต่ละ Scopes สำหรับเจ้าของธุรกิจ

เตรียมพร้อมองค์กรในยุคสังคมคาร์บอนต่ำ ธุรกิจส่วนใหญ่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในปริมาณที่แตกต่างกันออกไป แล้วจะทราบได้อย่างไรว่า องค์กรของคุณมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสมดุลกับการจำกัดก๊าซเรือนกระจกหรือไม่? บทความนี้จะเป็นการนำเสนอ Guideline ให้องค์กรต่างๆนำไปปรับใช้เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามมาตรฐานระดับสากล

1. วิธีการประเมิน Carbon Footprint ขององค์กร

คาร์บอนฟุตพริ้นท์คืออะไร

ซึ่งก๊าซเรือนกระจก (GHG) มีทั้งหมด 7 ชนิด ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2), มีเทน (CH4), ไนตรัสออกไซด์ (N2O), ไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน (HFCs), เพอร์ฟลูออโรคาร์บอน (PFCs), ซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์ (HF6) และไนโตรเจนไตรฟลูออไรด์ (NF3)

คาร์บอนฟุตพริ้นท์มีกี่ประเภท

  1. คาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร (Organizational Carbon Footprint)

คาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร (Organizational Carbon Footprint) คือปริมาณการปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse gas emissions and removals) ที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมการดำเนินงานขององค์กร วัดรวมอยู่ในรูปของตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า

  1. คาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ (Product Carbon Footprint)

คาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ (Product Carbon Footprint) คือปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาจากผลิตภัณฑ์หรือบริการตลอดวัฎจักรชีวิต ตั้งแต่การได้มาซึ่งวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การจัดจำหน่าย การใช้งาน และการจัดการของเสียหลังจากการใช้งาน วัดปริมาณออกมาในรูปแบบของคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า

2. องค์กรของคุณมีการปล่อยคาร์บอนแบบใดบ้าง

  1. Purchased goods and services : การซื้อวัตถุดิบและบริการ
  2. Capital goods : สินค้าประเภททุน หรือ เครื่องมือที่ช่วยในการผลิตสินค้า
  3. Fuel and energy related activities : กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเชื้อเพลิงและพลังงาน
  4. Upstream transportation and distribution : การขนส่งและการจัดจำหน่ายระหว่างองค์กรกับคู่ค้า
  5. Waste generated in operations : กระบวนการกำจัดกากของเสีย และการบำบัดน้ำเสีย
  6. Business travel : การเดินทางเพื่อธุรกิจ
  7. Employee commuting : การเดินทางของพนักงาน
  8. Upstream leased assets : ห่วงโซ่อุปทานก่อนการผลิต
  9. Downstream transportation and distribution : ห่วงโซ่อุปทานในการจัดส่งสินค้าให้ถึงลูกค้า
  10. Processing of sold products : การแปรรูปสินค้าที่องค์กรจำหน่าย
  11. Use of sold products : การใช้งานของผลิตภัณฑ์ที่องค์กรจำหน่าย
  12. End-of-life treatment of sold products : การกำจัดซากผลิตภัณฑ์ที่องค์กรจำหน่าย
  13. Downstream leased assets : การปล่อยเช่าสินทรัพย์ขององค์กร
  14. Franchises : การดำเนินงานของแฟรนไชส์
  15. Investments : การดำเนินการลงทุน (รวมถึงตราสารทุนและการลงทุนในตราสารหนี้และการเงินโครงการ)

Carbon Emission ทั้ง 3 Scopes เป็นเสมือน Framework ที่ช่วยให้แต่ละองค์กรเห็นภาพรวมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ทั้ง Business Supply Chain ช่วยให้ระบุกิจกรรมที่ปล่อยก๊าซฯมากที่สุด แล้วจัดเรียงความสำคัญในการลดก๊าซเรือนกระจกในภาพรวม อีกทั้งสามารถติดตามประสิทธิภาพในกระบวนการลดก๊าซฯ รวมถึงต่อยอดในการประเมิน Carbon Footprint ได้อีกด้วย

อ่านต่อบทความ
https://gmssolar.com/carbon-emission



ผู้ตั้งกระทู้ Carbon Emission โพสต์และแสดงความเห็นเฉพาะสมาชิกเท่านั้น :: วันที่ลงประกาศ 2023-03-10 15:57:10 IP : 49.228.233.41